NFT (non-fungible token) คืออะไร? ทำไมถึงกลายเป็นกระแสแรง

ช่วยแชร์ต่อนะครับ

NFT หรือ non-fungible token เปรียบเสมือนโลกเสมือนจริงที่สร้างขึ้นมา โดยการจำลองสินทรัพย์ที่มีอยู่จริงลงไปในระบบดิจิทัลผ่านเทคโนโลยี Blockchain

NFT หรือ non-fungible token เป็นที่พูดถึงอย่างมาก ปัจจุบันคนมักมองว่าเป็น Bitcoin เวอร์ชั่น 2 เป็นรูปแบบการเก็บข้อมูลทางอิเล็คทรอนิกส์ที่เรียกว่า Blockchain สำหรับ NFT หรือ non-fungible token มีการเปลี่ยนแปลงจาก Cryptocurrency แบบเดิมกลายเป็นตัวแทนของ รูปภาพ วีดีโอ เสียง หรือทรัพย์สินอื่นๆอีกเพียบ จริงๆสำหรับ NFT หรือ non-fungible token ยังมีหลายคนเรียกว่า Cryptographic

NFT หรือ non-fungible token ต่างจาก Cryptocurrency ทั่วไปอย่างไร

สิ่งที่ NFT หรือ non-fungible token ต่างจาก Cryptocurrency ทั่วๆไป จากการที่ NFT หรือ non-fungible token จะเป็นสินทรัพย์ดิจิทัลที่เรามีสิทธิครอบครองคนเดียว สิทธิในการถือสินทรัพย์นั้นเป็นของเจ้าของแต่เพียงผู้เดียวและมีการยืนยันด้วยเทคโนโลยี Blockchain

สิ่งหนึ่งที่ทำให้เกิด NFT หรือ non-fungible token มาจากการที่มีการก๊อปปี้ผลงาน เสียง ภาพ วีดีโอทางออนไลน์อย่างผิดกฎหมาย โดยที่เจ้าของผลงานไม่ได้รับผลประโยชน์ด้วยเลย ทำให้เกิดการสร้าง NFT หรือ non-fungible token ขึ้นมา เจ้าของยังคงเป็นเจ้าของผลงานอยู่ แต่สามารถนำผลงานไปขายต่อในรูปแบบ NFT หรือ non-fungible token

สำหรับผู้ที่ถือทรัพย์สินในรูปแบบ NFT หรือ non-fungible token ต้องเข้าใจว่า ไม่ได้เป็นเจ้าของผลงานในโลกจริง ในโลกจริงนั้นเจ้าของผลงานสามารถนำทรัพย์สินเหล่านั้นไปหารายได้ ทางอื่น ๆได้อยู่

NFT หรือ non-fungible token เกิดขึ้นครั้งแรกในวันที่ 4 เดือนพฤษภาคม ปี 2014 โดย Kevin McCoy และ Anil Dash ที่พิพิธภัณฑ์ในนิวยอร์ค ได้มีการนำผลงานมาทำในรูปแบบNFT หรือ non-fungible token

ตัวอย่าง NFT หรือ non-fungible token

มีการสร้างผลงานดิจิทัลชื่อ Everydays – The First 5000 Days สร้างโดยศิลปินที่ชื่อ  Mike Winkelmann หรือเป็นที่รู้จักชื่อ Beeple ถูกขายไปมูลค่ากว่า 69.3 ล้านเหรียยญในปี 2021
บริหารบริษัท Figma ชื่อ  Dylan Field ขายศิลปะที่ชื่อ CryptoPunk #7804 มูลค่ากว่า 7.5 ล้านเหรียญ

ของสะสมการ์ด LeBron James ถูกขายไปมูลค่ากว่า 208,000 เหรียญ

ผลงาน NFT หรือ non-fungible token ในไทย

การ์ตูน ‘ขายหัวเราะ’ เล่มแรก ที่มีการพิมพ์ออกมาเมื่อปี 1973 ได้มีการทำ NFT หรือ non-fungible token โดย บริษัท วิธิตากรุ๊ป จำกัด ถูกขายไปมูลค่ามากกว่า 1 ล้านบาท

ทำไมคนที่ถือ NFT หรือ non-fungible token ถึงยอมจ่ายเงินซื้อ

สำหรับ NFT หรือ non-fungible token จะออกโดยเจ้าของผลงานเอง นั่นก็เปรียบเสมือนลายเซ็นของเจ้าของผลงาน คิดถึงลายเซ็นพวกดาราต่างประเทศดัง ๆ ที่มีการประมูลขายกันแพงมาก ซึ่งก็อาจจะเป็นของปลอม กุเรื่องก็เป็นไปได้ แต่นั่นไม่ใช่สำหรับ NFT หรือ non-fungible token ที่มีการยืนยันตัวด้วยระบบ Blockchain ดังนั้นมันจึงมีมูลค่าตามมาด้วย

สุดท้ายแล้วเราไม่รู้หรอกว่า NFT หรือ non-fungible token จะกลายเป็นสินทรัพย์แห่งอนาคต ไม่มีใครรู้อนาคต ถ้าเราไม่เชื่อเราก็แค่ไม่ลงทุนสิ่งนั้น แต่ถ้าเราเชื่อเราก็ลงทุนสิ่งนั้นเพียงเท่านั้นเอง